ระบบตัวเลข (Number System)

ระบบตัวเลขที่เราได้ใช้กันมาตลอดตั้งแต่ที่เราจำความกันได้นั้น จะประกอบไปด้วยเลข 10ตัว คือ เลข 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 ซึ่งมนุษย์เราได้ใช้ระบบการนับเหล่านี้มาใช้ในการสื่อสาร บอกปริมาณ ขนาด ทำให้ทุกคนสามารถมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย ซึ่งระบบเลขนี้คือระบบเลขฐานสิบนั่นเอง
แต่ในปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะทางคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนามาเป็นอย่างมาก ซึ่งหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น จะมีลักษณะการทำงานภายในเพียง จังหวะเท่านั้น คือ ON และ OFF ในลักษณะของวงจรสวิทชิ่งนั้นเอง จากลักษณะการทำงานของสวิทชิ่งนั้น เราสามารถนำระบบเลขฐานสองมาประยุกต์ใช้ในการสื่อความหมายแทนคำว่า ON และ OFF ของวงจรสวิทชิ่ง เนื่องจากเลขฐานสองจำนวนหลาย ๆ หลัก เมื่อนำมาสื่อความหมายแล้วจะทำให้เกิดความสับสนในการสื่อความซึ่งกันและกัน จึงเป็นการไม่สะดวกนักในการใช้เลขฐานสองเพียงอย่างเดียว เราจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาระบบเลขฐานอื่น ๆ ซึ่งมีความสะดวกในการสื่อความหมายและจะต้องมีความสะดวกในการแปลงค่ากับเลขฐานสอง ระบบเลขที่เรานิยมนำมาใช้คือระบบเลขฐานแปดและฐานสิบหกนั่นเอง
ระบบตัวเลข (Number System)
ระบบตัวเลขในแต่ละระบบจะมีจำนวนตัวเลขโดด (Digit) เท่ากับชื่อของระบบตัวเลขฐานนั้น ๆ ได้แก่
ระบบเลขฐานสอง (Binary number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน ตัว คือ และ 1
ระบบเลขฐานห้า (Quinary number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน ตัว คือ 0, 1, 2, 3 และ ระบบเลขนี้นิยมแพร่หลายในพวกเอสกิโม (Eskimos) และอินเดียนในอเมริกาเหนือ
ระบบเลขฐานแปด (Octal number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9
ระบบเลขฐานสิบสอง (Duodecimal number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน 12 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, a และ b ซึ่งระบบเลขฐานสิบสองนี้จะเห็นได้จากนาฬิกา นิ้วและฟุต โหลและกุรุส
ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal number system) จะประกอบด้วยเลขโดดพื้นฐานจำนวน 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F
 ระบบเลขฐานสิบ
ระบบเลขฐานสิบเป็นระบบเลขพื้นฐานที่เราใช้สื่อความหมายมาโดยตลอด ซึ่งจะประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นเลขโดด (Digit) จำนวน 10 ตัว คือ ถึง ในการเขียนเลขฐานสิบจะกระทำได้โดยการนำเลขโดด ตัวมาเขียน ซึ่งสามารถเขียนค่าต่าง ๆ เรียงตามลำดับของมัน เช่น 0, 1, 2,…, 9 ซึ่งจะเห็นว่าถ้านำเลขโดดเพียง ตัวมาใช้ในการเขียนเพื่อสื่อความหมายนั้น เลข จะเป็นค่าสูงสุดแล้ว ในความเป็นจริงเราจำเป็นต้องใช้มากกว่านั้น นั่นหมายความว่าในการเขียนเลขโดยใช้เลขโดดเพียงตัวเดียวคงไม่เพียงพอ เราจำเป็นต้องนำเลขโดดหลาย ๆ ตัวมาเขียนประกอบกันเป็นค่าตัวเลขที่เราต้องการ เลข ซึ่งเป็นค่าสูงสุด ถ้าเราสังเกตจะเห็นค่าตัวเลขที่เป็นตัวนำอยู่ คือ นั่นเอง เราก็จะเห็นเป็น 09 หมายความว่าถ้าต้องการเพิ่มค่าให้มากกว่านี้อีก ค่า เราจะต้องเปลี่ยนเลขในหลักต่ำสุดคือ เลข ให้เป็นเลข และเปลี่ยนค่าตัวนำให้เพิ่มขึ้นอีก ค่า ซึ่งจะได้เป็น 10, 11, 12, …, 19, 20, 21, 22, …, 29, 30, 31, …, 99, 100, 101, …, 199, 200, 201, 202, …, 999, 1000, 1001, 1002, … (ลองสังเกตการเพิ่มค่าตัวเลขจากหน้าปัทม์บอกจำนวนระยะทางของรถยนต์ )
ตัวเลขโดดในการเขียนตัวเลขใด ๆ อาจจะมีค่าที่แตกต่างกัน เช่น 2000 และ 20 ตัวเลข ของเลข จำนวน จะมีความหมายซึ่งไม่เหมือนกัน หมายความว่าตัวเลขที่ปรากฏ ณ.ตำแหน่งต่าง ๆ จะมีน้ำหนักที่ไม่เหมือนกัน นั่นคือจำนวนเต็มในเลขฐานสิบ ซึ่งมีตัวเลข ตัว จะมีค่าเท่ากับผลบวกของสัมประสิทธิ์ตามน้ำหนัก หาได้ดังนี้
N10  =   an-1 (10)n-1 + an-2 (10)n-2 + … + a1 (10)1 + a0 (10)0
                ตัวอย่างเช่น 50891 เราสามารถเขียนในลักษณะของน้ำหนักประจำตำแหน่งได้ดังนี้
                50891    =     5 x 10 + 0 x 10 + 8 x 10 + 9 x 10 + 1 x 100
                ถ้าเป็นจำนวนทศนิยม เลขยกกำลังของฐานจะเริ่มตั้งแต่ –1 เป็นต้นไป
                n10  =   a-1 (10)-1 + a-2 (10)-2 + … + a-(m-1) (10)-m+1 + a-m (10)-m
                ฉะนั้นถ้าเลขนั้น ๆ ประกอบไปด้วยจำนวนเต็มและทศนิยมก็จะได้
N10=an-1(10)n-1+an-2(10)n-2+…+a1(10)1+a0(10)0+a-1(10)-1+a-2(10)-2+…+a-(m-1)(10)-m+1+a-m(10)-m

ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองได้ถูกคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ “GOTTFRIED WILHELM”  ซึ่งใช้สัญลักษณ์เป็น และ เท่านั้น ทำให้ระบบเลขฐานสองนี้เหมาะสมในการนำมาประยุกต์แทนการอธิบายการทำงานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์สวิทชิ่ง โดย ON จะแทน และ OFF จะแทน 0
การนับเลขฐานสอง (Counting in Binary)
การนับเลขฐานสองจะมีหลักการเช่นเดียวกับการนับเลขฐานสิบ คือจะมีตัวนำและตามด้วยเลขพื้นฐาน เช่น
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
0
0
8
1000
1
1
9
1001
2
10
10
1010
3
11
11
1011
4
100
12
1100
5
101
13
1101
6
110
14
1110
7
111
15
1111
มีข้อสังเกตคือ  เลขฐานสอง 16 ตัวแรก จะเขียนด้วยตัวเลขขนาด หลัก หรือ บิทพอดี (bit ย่อมาจาก binary digitและความสำคัญของตัวเลข ณ.ตำแหน่งต่าง ๆ ก็จะมีระดับความสำคัญที่แตกต่างกันเช่นเดียวกับเลขฐานสิบ นั่นคือ ตัวเลขที่อยู่ตำแหน่งซ้ายสุดของจำนวนเลขใด ๆ จะเป็นเลขที่มีนัยสำคัญสูงที่สุด (most significant digit (bit) ใช้ตัวย่อว่า msd หรือ msb) ส่วนตัวเลขที่อยู่ตำแหน่งขวาสุดของจำนวนเลขใด ๆ จะเป็นเลขที่มีนัยสำคัญต่ำที่สุด(least significant digit (bit) ใช้ตัวย่อว่า lsd หรือ lsb) และเช่นเดียวกับเลขฐานสิบเราสามาถเขียนเลขฐานสองในลักษณะเทียบค่าน้ำหนักประจำหลักได้เช่นกัน
N2  =   an-1 (2)n-1 + an-2 (2)n-2 + … + a1 (2)1 + a0 (2)0
และในกรณีเป็นทศนิยมจะได้
                n2  =   a-1 (2)-1 + a-2 (2)-2 + … + a-(m-1) (2)-m+1 + a-m (2)-m
                ฉะนั้นถ้าเลขนั้น ๆ ประกอบไปด้วยจำนวนเต็มและทศนิยมก็จะได้
N2  =  an-1 (2)n-1+ an-2 (2)n-2+…+ a1 (2)1+ a0 (2)0+ a-1 (2)-1+ a-2 (2)-2+…+ a-(m-1) (2)-m+1+ a-m (2)-m


ระบบเลขฐานแปด
ในการทำงานจริงของอิเล็กทรอนิกส์สวิทชิ่งนั้น เราสามารถแทนได้ด้วยเลขฐานสองก็จริง แต่ถ้าหากมีการบอกรายละเอียดเป็นขนาดจำนวนบิตต่าง ๆ ค่อนข้างมาก จะทำให้ไม่สะดวกนั้นในการที่จะใช้เลขฐานสองในการสื่อความหมาย ข้อเสียนี้ของเลขฐานสองทำให้เราจำเป็นต้องหาระบบเลขอื่น ๆ มาใช้แทน ซึ่งเลขฐานแปดเป็นระบบเลขระบบหนึ่งที่สามารถนำมาใช้แทนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากสัญลักษณ์พื้นฐานของเลขฐานแปดประกอบไปด้วยค่าต่ำสุดคือ และค่าสูงสุด คือ ซึ่งสอดคล้องกับ ค่าต่ำสุดของเลขฐานสองจำนวน บิต คือ 000 และค่าสูงสุดคือ 111 พอดี ทำให้เราสามารถเปลี่ยนระหว่างเลขฐานสองและเลขฐานแปดได้สะดวก
การนับจะนวนของระบบเลขฐานแปดก็จะมีลักษณะเดียวกับเลขฐานสองและฐานสิบคือจะต้องประกอบด้วยตัวนำ และตามด้วยตัวเลขพื้นฐาน
เลขฐานสิบ
เลขฐานแปด
เลขฐานสิบ
เลขฐานแปด
0
0
8
10
1
1
9
11
2
2
10
12
3
3
11
13
4
4
12
14
5
5
13
15
6
6
14
16
7
7
15
17

ซึ่งเขียนตามน้ำหนักประจำหลักจะได้
N8  =   an-1 (8)n-1 + an-2 (8)n-2 + … + a1 (8)1 + a0 (8)0
และในกรณีเป็นทศนิยมจะได้
                n8  =   a-1 (8)-1 + a-2 (8)-2 + … + a-(m-1) (8)-m+1 + a-m (8)-m
                ฉะนั้นถ้าเลขนั้น ๆ ประกอบไปด้วยจำนวนเต็มและทศนิยมก็จะได้
N8  =  an-1 (8)n-1+ an-2 (8)n-2+…+ a1 (8)1+ a0 (8)0+ a-1 (8)-1+ a-2 (8)-2+…+ a-(m-1) (8)-m+1+ a-m (8)-m

ระบบเลขฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบหกมีลักษณะคล้ายเลขฐานแปด โดยค่าต่ำสุดของเลขฐานสิบหก คือ จะมีค่าเท่ากับค่าต่ำสุดของเลขฐานสอง บิต คือ 0000 และโดยค่าสูงสุดของเลขฐานสิบหก คือ จะมีค่าเท่ากับค่าสูงสุดของเลขฐานสอง บิต คือ 1111 ทำให้ระบบเลขฐานสิบหกจึงเป็นอีกระบบหนึ่งที่นิยมใช้แทนการกล่าวถึงเลขฐานสอง และปัจจุบันจะเป็นที่นิยมใช้เลขฐานสิบหกมากกว่าเลขฐานแปด
เลขฐานสิบ
เลขฐานสิบหก
เลขฐานสิบ
เลขฐานสิบหก
0
0
8
8
1
1
9
9
2
2
10
A
3
3
11
B
4
4
12
C
5
5
13
D
6
6
14
E
7
7
15
F

เลขฐานสิบหก N16 ซึ่งมีจำนวนเต็ม หลัก จำนวนทศนิยม หลัก จะมีค่าดังสมการ
N16  =  an-1(16)n-1+an-2(16)n-2+…+a1(16)1+a0(16)0+a-1(16)-1+a-2(16)-2+…+ a-(m-1)(16)-m+1+ a-m(8)-m

การแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก ให้เป็น

เลขฐานสิบ

                เนื่องจากมนุษย์มีความคุ้นเคยกับเลขฐานสิบสามารถเข้าใจเมื่อได้มีการสื่อความหมายด้วยเลขฐานสิบจึงทำให้เราต้องศึกษาวิธีการเปลี่ยนหรือแปลงค่าเลขฐานต่าง ๆ ให้เป็นเลขฐานสิบ เพื่อความเข้าใจได้มากขึ้น ซึ่งเราอาศัยหลักการเปลี่ยนเป็นเลขฐานสิบจากเลขฐานต่าง ๆ ได้ไม่ยากนัก สามารถแปลงเขฐานต่าง ๆ เป็นเลขฐานสิบได้โดยการนำเลขแต่ละตำแหน่งของฐานนั้น ๆ ไปคูณด้วยน้ำหนัก (Weighting) หรือค่าประจำหลักของเลขฐานนั้น ๆ แล้วนำมาบวกกัน เราก็จะได้ค่าออกมาเป็นเลขฐานสิบนั่นเอง

 

ตัวอย่างที่       จงแปลงเลขฐานสอง 1101101 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             11011012       =    (1´26) + (1´25) + (0´24) + (1´23) + (1´22) + (0´21) + (1´20)
                      =    64   +   32   +   0   +   8   +   4   +   0   +   1
                      =    10910

ตัวอย่างที่       จงแปลงเลขฐานสอง 0.1011 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             0.1011 2          =    (1´2-1) + (0´2-2) + (1´2-3) + (1´2-4)
                                      =    1´0.5  +  0´0.25  +  1´0.125  +  1´0.0625
                                      =    0.5   +   0   +   0.125   +   0.0625
                      =    0.687510

ตัวอย่างที่  3       จงแปลงเลขฐานสอง 11101.011 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             11101.011 2   =    (1´24) + (1´23) + (1´22) + (0´21) + (1´20) + (0´2-1)+ (1´2-2)+ (1´2-3)
                                      =    1´16  +  1´8  +  1´4  +  0´2  +  1´1  +  0´0.5  +  1´0.25  +  1´0.125                             =             16  +  8  +  4  +  0  +  1  +  0  +  0.25  +  0.125
                                      =    29.37510

ตัวอย่างที่  4       จงแปลงเลขฐานแปด 2374 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             23748              =    (2´83) + (3´82) + (7´81) + (4´80)
                                      =    2´512  + 3´64  + 7´8  +  4´1 
                                      =    1024  +  192  +  56  +  4
                                      =    127610

ตัวอย่างที่ 5      จงแปลงเลขฐานแปด 0.325 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             0.3258             =    (3´8-1) + (2´8-2) + (5´8-3)
                                      =    3´0.125 + 2´0.015625 + 5´0.001953
                                      =    0.375  +  0.3125  +  0.009765 
                                      =    0.41601510

 ตัวอย่างที่  6      จงแปลงเลขฐานสิบหก E5 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     

             E516                 =    (E´161) + (5´160)
                                      =    14´16  + 5´1 
                                      =    224  +  5 
                                      =    22910

ตัวอย่างที่ 7       จงแปลงเลขฐานสิบหก B2F8 ให้เป็นเลขฐานสิบ

วิธีทำ     
             B2F816            =    (B´163) + (2´162) + (F´161) + (8´160)
                                      =    11´4096 + 2´256 + 15´16 + 8´1
                                      =    45056  +  512 + 240 + 8 
                                      =    4581610
 การแปลงเลขฐานสิบให้เป็น เลขฐานสอง เลขฐานแปดและ

เลขฐานสิบหก

การแปลงเลขฐานสิบให้เป็นเลขฐานใด ๆ ก็ตาม จะมีวิธีการคิดเช่นเดียวกัน โดยการแบ่งลักษณะการแปลงได้ กรณี คือ

1. กรณีเลขฐานสิบที่ต้องการแปลงเป็นเลขจำนวนเต็ม เราทำการแปลงให้เป็นฐานใด ๆ ได้โดยการนำเลขจำนวนเต็มฐานสิบนั้น ๆ มาหารด้วยเลขฐานที่ต้องการเปลี่ยน โดยเก็บเศษที่เหลือจากการหารเอาไว้ จากนั้นนำคำตอบที่เหลือจากการหารนำไปหารกับเลขฐานที่ต้องการแปลงและเก็บเศษจากการหารเอาไว้อีก กระทำอย่างนี้ซ้ำ ๆ จนกระทั่งไม่สามารถนำคำตอบที่เหลือจากการหารไปหารได้อีก เศษที่เหลือจากการหารในแต่ละครั้งนำมาเขียนรวมกันก็จะเป็นผลลัพธ์ของเลขฐานที่ต้องการเปลี่ยน โดยเศษที่เหลื่อจากการหารในครั้งแรกสุด จะเป็นตัวที่มีนัยสำคัญน้อยที่สุด (Least significant digit หรือ LSD) ส่วนเศษที่เหลือจากการหารในครั้งสุดท้ายจะเป็นตัวที่มีนัยสำคัญสูงที่สุด(Most significant digit หรือ MSD)

 ตัวอย่างที่ 8       จงแปลง 2510 ให้เป็นเลขฐานสอง
วิธีทำ                                                                                      เศษ
                                25   ¸   2               =   12                      1              (LSD หรือ LSB)
                                12   ¸   2               =   6                        0                
                                6     ¸   2               =   3                        0                
                                3     ¸   2               =   1                        1                
                                1     ¸   2               =   0                        1              (MSD หรือ MSB)
                \  2510    =    110012
2. กรณีเลขฐานสิบที่ต้องการแปลงเป็นเลขเศษส่วน(เลขทศนิยมซึ่งไม่ใช่จำนวนเต็มเราทำการแปลงให้เป็นฐานใด ๆ ได้ โดยการนำเลขฐานสิบนั้น ๆ คูณด้วยเลขฐานที่จะเปลี่ยนแล้วเก็บค่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคูณเฉพาะเลขจำนวนเต็มที่อยู่หน้าจุดทศนิยม จากนั้นนำคำตอบที่ได้จากการคูณในครั้งแรกเฉพาะเลขทศนิยมเท่านั้นมาทำการคูณกับเลขฐานที่ต้องการเปลี่ยนอีกแล้วเก็บค่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคูณเฉพาะเลขจำนวนเต็มที่อยู่หน้าจุดทศนิยมอีกครั้ง กระทำอย่านี้ซ้ำ ๆ จนกระทั่งได้คำตอบที่เราเห็นว่าเหมาะสม แล้วจึงนำค่าที่เราเก็บไว้มาเขียนเป็นเลขฐานที่เราต้องการซึ่งจะเป็นทศนิยม โดยค่าจำนวนเต็มที่ได้จากการเก็บในครั้งแรกจะเป็น MSD

ตัวอย่างที่ 8       จงแปลง 0.312510 ให้เป็นเลขฐานสอง
วิธีทำ                                                                                      จำนวนเต็มที่เก็บ
                                0.3125   ´   2       =   0.625                                0                              (MSD หรือ MSB)
                                0.625     ´   2       =   1.25                                  1                
                                0.25       ´   2        =   0.50                                  0                
                                0.50       ´   2        =   1.00                                  1                
                \  0.312510            =    0.01012

                กรณีเลขฐานสิบที่ต้องการแปลงเป็นเลขฐานอื่น ๆ  เป็นเลขที่ผสมระหว่างเลขจำนวนเต็มและเลขทศนิยม (เลขจำนวนจริงก็ให้ทำการแยกแปลง ครั้ง โดยแยกแปลงแบบหารสำหรับจำนวนเต็ม และ คูณสำหรับทศนิยม แล้วนำคำตอบมารวมกัน

ตัวอย่างที่ 9       จงแปลง 18.62510 ให้เป็นเลขฐานสอง
วิธีทำ      แยกคิด ครั้ง คือ 1810 และ 0.62510
                แปลง  1810  ให้เป็นฐานสอง
                                                                                                เศษ
                                18   ¸   2               =   9                        0              (LSD หรือ LSB)
                                9     ¸   2               =   4                        1                
                                4     ¸   2               =   2                        0                
                                2     ¸   2               =   1                        0                
                                1     ¸   2               =   0                        1              (MSD หรือ MSB)
                \  1810                 =    100102
                แปลง  0.62510  ให้เป็นฐานสอง
                                                                                                จำนวนเต็มที่เก็บ
                                0.625     ´   2       =   1.250                                1                              (MSD หรือ MSB)
                                0.250     ´   2       =   0.500                                0
                                0.5         ´   2        =   1.0                                     1
                                0.0         ´   2        =   0                                        0
                \  0.62510              =    0.1012
                \  18.62510            =    10010.1012

ตัวอย่างที่ 10     จงแปลง 359.2810 ให้เป็นเลขฐานแปด
วิธีทำ      แยกคิด ครั้ง คือ 35910 และ 0.2810
                แปลง  35910  ให้เป็นฐานแปด
                                                                                                เศษ
                                359 ¸   8               =   44                      7              (LSD)
                                44   ¸   8               =   5                        4                
                                5     ¸   8               =   0                        5              (MSD)
                \  35910                 =    5478




                แปลง  0.2810  ให้เป็นฐานแปด
                                                                                                จำนวนเต็มที่เก็บ
                                0.28       ´   8        =   2.24                                  2                              (MSD)
                                0.24       ´   8        =   1.92                                  1
                                0.92       ´   8        =   7.36                                  7
                                0.36       ´   8        =   2.88                                  2
                                0.88       ´   8        =   7.04                                  7
                \  0.2810                =    0.217278
                \  359.2810            =    547.217278

ตัวอย่างที่ 11     จงแปลง 650.0510 ให้เป็นเลขฐานสิบหก
วิธีทำ      แยกคิด ครั้ง คือ 65010 และ 0.0510
                แปลง  65010  ให้เป็นฐานสิบหก
                                                                                                เศษ
                                650 ¸   16            =   40                      10           คือ           A             (LSD)
                                40   ¸   16             =   2                        8                
                                2     ¸   16             =   0                        2              (MSD)
                \  65010                 =    28A16
                แปลง  0.0510  ให้เป็นฐานสิบหก
                                                                                                จำนวนเต็มที่เก็บ
                                0.05       ´   16     =   0.80                                  0                              (MSD)
                                0.80       ´   16     =   1.28                                  1
                                0.28       ´   16     =   3.48                                  3
                                0.48       ´   16     =   7.68                                  7
                                0.68       ´   16     =   10.88                                10           คือ           A
                \  0.0510                =    0.0137A16
                \  650.0510            =    28A.0137A16

การแปลงระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสอง

                จากหัวข้อที่เราได้ศึกษามาแล้ว ถ้าเราต้องการที่จะแปลงเลขระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสองนั้น เราจะกระทำได้โดยแปลงเลขฐานที่ต้องการแปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนจากนั้นจึงค่อยแปลงจากเลขฐานสิบไปเป็นเลขฐานที่ต้องการ ซึ่งจะเห็นว่ามีวิธีการที่ยุ่งยากเสียเวลามาก ถ้าเราสังเกตจากตารางดังต่อไปนี้ ซึ่งเทียบค่าระหว่างเลขฐานสองกับเลขฐานแปดจะเห็นว่า ความสัมพันธ์ของเลขฐานแปดที่เป็นเลขพื้นฐาน ตัว สามารถแทนด้วยเลขฐานสองขนาด 3 bit พอดี
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานแปด
0
000
0
1
001
1
2
010
2
3
011
3
4
100
4
5
101
5
6
110
6
7
111
7

                ดังนั้นในการแปลงระหว่างเลขฐานสองกับเลขฐานแปดเราสามารถกระทำได้โดยการจับกลุ่มของเลขฐานสอง 3 bit ต่อเลขฐานแปด หลัก โดยเทียบค่ากัน ตัวต่อตัว
ตัวอย่างที่ 12     จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้เป็นเลขฐานสอง
ก)                  478
ข)                  7528
ค)                  37.128
วิธีทำ
                )            478          =             100  1112
                )            7528        =             111  101  0102
                )            37.128       =             011  111 . 001 0102

ตัวอย่างที่ 13     จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้เป็นเลขฐานแปด
ก)                  1011110012
ข)                  10111001102
ค)                  1001101.10112
วิธีทำ
                )            101 111 0012                        =             5 7 18
                )            001 011 100 1102                =             1 3 4 68
                )            001 001 101 . 101 1002         =             1 1 5 . 5 48

การแปลงระหว่างเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง

                ในลักษณะเดียวกัน ถ้าเราต้องการที่จะแปลงเลขระหว่างเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสองนั้น เราจะกระทำได้โดยแปลงเลขฐานที่ต้องการแปลงให้เป็นเลขฐานสิบก่อนจากนั้นจึงค่อยแปลงจากเลขฐานสิบไปเป็นเลขฐานที่ต้องการ ซึ่งจะเห็นว่ามีวิธีการที่ยุ่งยากเสียเวลามากเช่นเดียวกัน ถ้าเราสังเกตจากตารางดังต่อไปนี้ ซึ่งเทียบค่าระหว่างเลขฐานสองกับเลขฐานสิบหกก็จะเห็นเช่นกันว่า ความสัมพันธ์ของเลขฐานสิบหกที่เป็นเลขพื้นฐาน ตัว สามารถแทนด้วยเลขฐานสองขนาด 4 bit พอดี
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานสิบหก
0
0000
0
1
0001
1
2
0010
2
3
0011
3
4
0100
4
5
0101
5
6
0110
6
7
0111
7
8
1000
8
9
1001
9
10
1010
A
11
1011
B
12
1100
C
13
1101
D
14
1110
E
15
1111
F
                ดังนั้นในการแปลงระหว่างเลขฐานสองกับเลขฐานสิบหกเราสามารถกระทำได้โดยการจับกลุ่มของเลขฐานสอง 4 bit ต่อเลขฐานสิบหก หลัก โดยเทียบค่ากัน ตัวต่อตัวเช่นเดียวกับฐานแปด
ตัวอย่างที่ 14     จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้เป็นเลขฐานสอง
ก)                  CF3716
ข)                  975216
ค)                  D27.8216
วิธีทำ
)            CF3716                   =             1100  1111  0011  01112
                )            975216                              =             1001  0111  0101  00102
)            D27.8216                        =             1101  0010  0111 . 1000  00102

ตัวอย่างที่ 15     จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้เป็นเลขฐานสิบหก
ก)                  1011101110012
ข)                  10111001111102
ค)                  100111101.1100112
วิธีทำ
                )            1011  1011  10012               =             B B 916
                )            0001  0111  0011  11102   =             1 7 3 E16
                )            0001  0011  1101 . 1100 11002            =             1 3 D . C C16
 การบวกเลขฐานต่าง ๆ
                การบวกเลขฐานสอง         มีวิธีการคล้ายคลึงกับการบวกเลขฐานสิบแต่จะมีหลักเกณฑ์ที่ง่ายกว่า ดังนี้
                                  0     =             0
                                0  +  1     =             1
                                1  +  0     =             1
                                1  +  1     =             0              ทดไปหลักต่อไปอีก   1

ตัวอย่างที่ 16    
                )            1002                           410
                                +102                                   +210
                                1102                                       610

                )            11112                        1510
                            +11002                                  +1210
                            110112                                      2710
                )            101.112                 
                            +  11.012                             
                            1001.002                                 

                การบวกเลขฐานแปด         มีวิธีการบวกคล้ายคลึงกับการบวกเลขฐานสิบเช่นเดียวกัน ซึ่งมีตารางการบวก ดังนี้
ตารางการบวกเลขฐานแปด
+
0
1
2
3
4
5
6
7
0
0
1
2
3
4
5
6
7
1
1
2
3
4
5
6
7
10
2
2
3
4
5
6
7
10
11
3
3
4
5
6
7
10
11
12
4
4
5
6
7
10
11
12
13
5
5
6
7
10
11
12
13
14
6
6
7
10
11
12
13
14
15
7
7
10
11
12
13
14
15
16

ตัวอย่างที่ 17     จงบวกเลขฐานแปดต่อไปนี้             
                )            758  +  338
                )            35278  +  6748

วิธีทำ

)                            758
                            +338                                        
                                            1308                                         
                )                            35278                    
                                            + 6748
                                                44238                                   

                การบวกเลขฐานสิบหก     มีวิธีการบวกคล้ายคลึงกับการบวกเลขฐานสิบเช่นเดียวกัน ซึ่งในขั้นแรกหากยังไม่มีความชำนาญในการบวกเลขฐานแปดและฐานสิบหกก็อาจจำเป็นต้องใช้ตารางการบวกช่วยได้ ดังนี้
ตารางการบวกเลขฐานสิบหก
+
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
0
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
2
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
3
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
4
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
5
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
6
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
7
7
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
8
8
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
9
9
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
A
A
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
B
B
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
1A
C
C
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
1A
1B
D
D
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
1A
1B
1C
E
E
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
1A
1B
1C
1D
F
F
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
1A
1B
1C
1D
1E

ตัวอย่างที่ 18     จงบวกเลขฐานสิบหกต่อไปนี้          
                                1A816  +  67B16

วิธีทำ                                                                                      คอลัมน์  3  2  1

                                                                                                                1 A 8
                                                                                                       +     6 7 B
                                                                                                                8 2 3




                วิธีคิด     
                                คอลัมน์ 1  :
                                                8  +  B    =             810  +  1110
=             1910
                                                =             16 + 3                              
                                                                =             1316                                                     ผลบวกคือ 3, ตัวทดคือ 1
                                คอลัมน์ 2  :
                                                1  + A  +  7            =             1  + 1010  +  710
=             1810
                                                                =             16 + 2                              
                                                                                =             1216                             ผลบวกคือ 2, ตัวทดคือ 1
                                คอลัมน์ 3  :
                                                1  +  1  +  6            =             810
=             816                           ผลบวกคือ 8, ไม่มีตัวทด
 การลบเลขฐานต่าง ๆ
                การลบเลขฐานสอง            การลบเลขฐานสองก็จะมีลักษณะคล้ายกับการลบเลขฐานสิบโดยทั่วไป นั่นคือกรณีตัวตั้งมีค่ามากกว่าตัวลบ เราก็สามารถลบกันได้ทันที แต่หากตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าตัวลบเราก็จำเป็นต้องยืมตัวถัดไปมา ดังเช่นเลขฐานสิบ ซึ่งการลบเลขฐานสองมีตารางการลบดังนี้
                                0  -  0      =             0              ตัวยืม      0
                                0  -  1      =             -1            ตัวยืม      1
                                1  -  0      =             1              ตัวยืม      0
                                1  -  1      =             0              ตัวยืม      0

ตัวอย่างที่ 19     จงลบเลขฐานสองต่อไปนี้
                                1012  -  0112
วิธีทำ                                      1  0  12                                                    510
                                      -       0  1  12                                                 310
                                                0  1  02                                                    210

                การลบเลขฐานแปดและฐานสิบหก                การลบเลขฐานแปดและเลขฐานสิบหกจะมีหลักการเหมือนกับเลขฐานสองและเลขฐานสิบ แต่ดูเหมือนว่าเราจะไม่มีควสมคุ้นเคยนักในการหักลบเลขหรือยืมค่าระหว่างหลักต่าง ๆ กัน ฉะนั้นหากยังไม่มีความชำนาญในการลบเลข ในระยะแรกเราสามารถ ใช้ตารางบวกเลขฐานแปดหรือตารางบวกเลขฐานสิบหก ช่วยในการหาผลลบได้ โดยดูว่าตัวตั้งหรือตัวลบเลขจำนวนใดมีค่าน้อยกว่า เปรียบเทียบทีละหลักเริ่มจาหลักที่มีนัยสำคัญน้อยที่สุด (LSD) นำเลขจำนวนที่น้อยกว่ามาไล่ตามคอลัมน์ริมซ้ายสุด เมื่อพบเลขตัวนี้แล้ว ก็ให้กวาดไปตามแนวนอนจนพบตัวเลขอีกตัวที่มากกว่า ผลลบของเลขสองจำนวนนี้คือ ตัวเลขบนสุดที่ตรงกับเลขในแถวนี้ เช่น 78 - 48 กระทำโดยใช้ ซึ่งเป็นจำนวนที่น้อยกว่านำมาไล่ที่คอลัมน์ริมซ้ายมือสุด เมื่อพบแล้วจึงกวาดมาตามแนวนอนทางขวามือจนพบเลข มองขึ้นด้านบนสุดจะพบเลข ซึ่งจะเป็นคำตอบที่เป็นผลลบของเลขสองจำนวนนี้

การคูณเลขฐานต่าง ๆ
                การคูณเลขฐานต่าง ๆ จะมีหลักการคูณที่เหมือนกับการคูณเลขฐานสิบ สำหรับการคูณเลขฐานสองนั้น ดูเหมือนว่าจะมีความง่ายเป็นอย่างมากในการคูณ เนื่องจาก คูณอะไรก็จะได้ ส่วน นำไปคูณอะไร ก็จะได้ตัวตั้งนั้น และเนื่องจากว่าในการแปลงค่าระหว่างเลขฐานสองกับเลขฐานแปดและเลขฐานสิบหกนั้นมีความยุ่งยากน้อยมาก ทำให้ในการทำการบวก ลบ คูณ หาร ของเลขฐานแปดและเลขฐานสิบหก เราจึงนิยมเปลี่ยนเป็นเลขฐานสองก่อนแล้วจึงหาคำตอบ เสร็จแล้วจึงเปลี่ยนกลับเป็นเลขฐานแปดหรือเลขฐานสิบหกตามที่ต้องการ
ตารางการคูณเลขฐานสอง
´
0
1
0
0
0
1
0
1
ตัวอย่างที่ 20     จงคูณ 10112  ด้วย  10012   
วิธีทำ                                      10112
           ´10012
                                                10112
            00002
          00002
      10112     
      11000112

การหารเลขฐานต่าง ๆ
                การหารเลขฐานต่าง ๆ เราสามารถนำเอาตารางการคูณเลขฐานนั้น ๆ และนำความรู้จากเลขฐานสิบมาใช้ โดยจะหารเลขฐานสองจะเป็นการสะดวกที่สุด
ตัวอย่างที่ 21     จงคูณ 11002  ด้วย  1002   
วิธีทำ                                             112
        100 )1011
                                                   100
                                                     100
                                                      100
                                                      000

คอมพลีเมนต์ (Complement)
                ระบบเลขที่ใช้กันใน Computer จะเป็นเลข Binary ดังนั้นหากต้องการบวกและลบเลขจึงจำเป็นต้องมีทั้งวงจรบวกเลขและลบเลข จึงทำให้เกิดความยุ่งยากมาก อีกทั้งหากผลลัพธ์เกิดค่าที่ติดลบจะเกิดปัญหาว่าจะแสดงเครื่องหมายอย่างไร ดังนั้น ในระบบ Computer จะมีการนำ Complement มาใช้ในการลบเลขแต่จะใช้วิธีการบวกกับ Complement ของตัวลบ ซึ่งจะได้ผลลบ และหากผลลัพธ์เกิดมีค่าติดลบ ก็จะแสดงค่าผลลัพธ์เป็นเลข Complement
                การคอมพลีเมนต์เลขฐานสอง        ในระบบเลข Binary จะมี Complement อยู่ อย่าง คือ
                1’s complement คือการกลับสถานะของสัญญาณ จาก เป็น และจาก เป็น ทุก ๆ บิต เช่น 1’s complement ของ 1100011 คือ 0011100
                2’s complement คือผลบวกของ 1’s complement กับ เช่น 2’s complement ของ 1100011 คือ 0011100 + 1 = 0011101 ซึ่งมีวิธีคิดแบบลัดคือ ให้มองจากบิตต่ำสุด(ขวาสุดไปยังบิตสูงสุด(ซ้ายสุดหา ตัวแรกให้พบ หากยังไม่พบ ให้คงค่าเดิมเอาไว้ จนกระทั้งพบ ตัวแรกก็ยังคง ไว้ หลังจากนั้นให้เปลี่ยนค่าที่เหลือ จากเป็น และ จาก เป็น ทั้งหมด
ตัวอย่างที่ 22
                                                Binary Number                   1’s complement                   2’s complement
                                                           10101                                  01010                                     01011
                                                           10111                                  01000                                     01001
                                                         111100                                000011                                   000100
                                                     11011011                           00100100                              00100101
                การคอมพลีเมนต์เลขฐานสิบ          ในระบบเลขฐานสิบจะมี Complement อยู่ อย่าง เช่นกันคือ
                9’s complement คือการนำเลขฐานสิบในหลักต่าง ๆ แต่ละหลักมาลบกับ เช่น 9’s complement ของ 115 คือ 999 – 115 = 884
                10’s complement คือ การนำ 9’s complement มาบวกกับ เช่น 10’s complement ของ 115 คือ 999 – 115  + 1 = 885 
                การคอมพลีเมนต์เลขฐานแปด        ในระบบเลขฐานแปดจะมี Complement อยู่ อย่าง เช่นกันคือ
                7’s complement คือการนำเลขฐานแปดในหลักต่าง ๆ แต่ละหลักมาลบกับค่าสูงสุดคือ เช่น 7’s complement ของ 115 คือ 777 – 115 = 662
                8’s complement คือ การนำ 7’s complement มาบวกกับ เช่น 8’s complement ของ 115 คือ 777 – 115  + 1 = 663
                การคอมพลีเมนต์เลขฐานสิบหก    ในระบบเลขฐานสิบหกจะมี Complement อยู่ อย่าง เช่นกันคือ
                15’s complement คือการนำเลขฐานสิบหกในหลักต่าง ๆ แต่ละหลักมาลบกับค่าสูงสุดคือ เช่น 15’s complement ของ 115 คือ FFF – 115 = EEA
                16’s complement คือ การนำ 15’s complement มาบวกกับ เช่น 16’s complement ของ 115 คือ FFF – 115  + 1 = EEB
                จะเห็นว่าทุก ๆ ฐาน จะมีคอมพลีเมนต์ของแต่ละฐานอยู่ ชนิด คือคอมพลีเมนต์ฐาน (radix complement or r’s complement) เช่น คอมพลีเมนต์ของ 2 (2 r’s complement) ซึ่งเป็นของระบบเลขฐานสอง หรือ คอมพลีเมนต์ของ 10 (10 r’s complement) ซึ่งเป็นของระบบเลขฐานสิบ
                ส่วนคอมพลีเมนต์อีกชนิดหนึ่งคือ คอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่ง (radix-minus-one  complement หรือ diminished radix complement or (r-1)’s complement) เช่น คอมพลีเมนต์ของ 1 (1 r’s complement) ซึ่งเป็นของระบบเลขฐานสอง หรือ คอมพลีเมนต์ของ 9 (9 r’s complement) ซึ่งเป็นของระบบเลขฐานสิบ

การลบเลขโดยใช้คอมพลีเมนต์ฐาน
                จากประโยชน์ของเลขคอมพลีเมนต์ที่ใช้ในการหาผลลบของระบบเลขโดยใช้การบวกและสามารถแสดงค่าที่ติดลบได้นั้น ทำให้ในระบบ computer นิยมนำ complement ใช้ในการลบเลข ซึ่งากใช้คอมพลีเมนต์ฐานในการลบเลขมีวิธีการคิดดังนี้
1)      หาคอมพลีเมนต์ฐานของตัวลบ ถ้าตัวลบมีจำนวนหลักน้อยกว่าตัวตั้ง ก็ต้องทำจำนวนหลักของตัวลบให้มีจำนวนหลักเท่ากับตัวตั้งก่อนแล้วจึงหาค่อยคอมพลีเมนต์ฐาน
2)      นำตัวตั้งมาบวกกับคอมพลีเมนต์ฐานของตัวลบที่หาได้จากข้อ 1)
3)      ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการบวกในข้อ 2) ว่ามีตัวทดสุดท้าย (End around carry)หรือไม่
-          ถ้ามี End around carry ให้ตัดทิ้ง ที่เหลือจะได้ค่าผลลัพธ์ที่ได้จากการลบ โดยมีค่าเป็นบวก
-          ถ้าไม่มี End around carry ก็ให้หาคอมพลีเมนต์ฐานของผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ที่ได้จาการลบตามต้องการ แต่มีค่าเป็นลบ
ตัวอย่างที่ 23     จงลบเลขฐานสองต่อไปนี้ โดยใช้  2’s complement
ก)                  1100 – 1011
ข)                  10011 – 11100
วิธีทำ      )            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 2’s complement
                                          1100                                                                                                       1100
                                      -   1011                                            2’s complement                          + 0101
                                          0001                             มี End around carry ให้ตัดทิ้ง                 1  0001
                                ผลลบ คือ 0001
)            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 2’s complement
                                          10011                                                                                                    10011
                                      -   11100                                          2’s complement                          + 00100
                                      -   01001                          ไม่มี End around carry                                 10111
                                ผลลบ คือ –( 2’s complement ของ 10111) =  -01001

ตัวอย่างที่ 24     จงลบเลขฐานสิบต่อไปนี้ โดยใช้  10’s complement
ก)      196  – 155
ข)      3250 – 72532
วิธีทำ      )            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 10’s complement
                                          196                                                                                                         196
                                      -   155                                              10’s complement                       + 845
                                            41                               มี End around carry ให้ตัดทิ้ง                 1  041
                                ผลลบ คือ 41

)            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 10’s complement
                                            3250                                                                                                       3250
                                      -   75232                                          10’s complement                       + 27468
                                      -   69282                          ไม่มี End around carry                                 30718
                                ผลลบ คือ –( 10’s complement ของ 30718) =  -69282

การลบเลขโดยใช้คอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่ง
                การใช้คอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่งในการหาผลลบของระบบเลขโดยใช้การบวกจะมีวิธีการที่เหมือนกับการลบโดยใช้คอมพลีเมนต์ฐานแต่ต่างกันตรงการพิจารณาตัวทดสุดท้าย (End around carry) ซึ่งากใช้คอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่งในการลบเลขมีวิธีการคิดดังนี้
1)      หาคอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่งของตัวลบ ถ้าตัวลบมีจำนวนหลักน้อยกว่าตัวตั้ง ก็ต้องทำจำนวนหลักของตัวลบให้มีจำนวนหลักเท่ากับตัวตั้งก่อนแล้วจึงหาค่อยคอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่ง
2)      นำตัวตั้งมาบวกกับคอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่งของตัวลบที่หาได้จากข้อ 1)
3)      ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการบวกในข้อ 2) ว่ามีตัวทดสุดท้าย (End around carry)หรือไม่
-          ถ้ามี End around carry ให้นำไปบวกกับหลักที่มีนัยสำคัญน้อยที่สุด (LSD) ซึ่งจะได้ค่าผลลัพธ์ที่ได้จากการลบตามต้องการ โดยมีค่าเป็นบวก
-          ถ้าไม่มี End around carry ก็ให้หาคอมพลีเมนต์ฐานลบหนึ่งของผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ที่ได้จาการลบตามต้องการ แต่มีค่าเป็นลบ
ตัวอย่างที่ 25     จงลบเลขฐานสองต่อไปนี้ โดยใช้  1’s complement
ก)      11001 – 10011
ข)      1001 – 1100
วิธีทำ      )            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 1’s complement
                                          11001                                                                                                    11001
                                      -   10011                                          1’s complement                          + 01100
                                          00110                          มี End around carry ให้บวกเพิ่ม            1  00101
                                                                                                                                                                +  1
                                                                                                                                                         00110
                                ผลลบ คือ 00110

)            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 1’s complement
                                          1001                                                                                                       1001
                                      -   1101                                            1’s complement                          + 0010
                                      -   0100                            ไม่มี End around carry                                 1011
                                ผลลบ คือ –( 1’s complement ของ 1011) =  -0100

ตัวอย่างที่ 26     จงลบเลขฐานสิบต่อไปนี้ โดยใช้  9’s complement
ค)      54  – 21
ง)      3250 – 72532
วิธีทำ      )            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 9’s complement
                                          54                                                                                           54
                                      -   21                                 9’s complement                        + 78
                                          33                 มี End around carry ให้บวกเพิ่ม            1  32
                                                                                                                                                        +  1
                                                                                                                                                         33
                                ผลลบ คือ 33
)            ลบแบบธรรมดา                                                                   ลบโดยใช้ 9’s complement
                                            3250                                                                                                       3250
                                      -   75232                                          9’s complement                          + 27467
                                      -   69282                          ไม่มี End around carry                                 30717
                                ผลลบ คือ –( 10’s complement ของ 30717) =  -69282

ความคิดเห็น